บทความ

กติกาการแข่ง rov Tournament Mode

Rov in St.louissuksa 2018 กติกาการแข่งขัน สร้างห้องในโหมด Caldavar Valley: Tournament Mode แข่งขันผ่านเซิร์ฟเวอร์จริง ใช้บัญชีส่วนตัวของผู้เล่นในการแข่ง สมาชิกในทีมต้องมีฮีโร่ไม่ต่ำกว่า 15 ตัว มิฉะนั้นจะไม่สามารถเข้าเล่นใน Tournament Mode ได้ ในทัวร์นาเมนต์ห้ามใช้สกินฮีโร่ Sharkover (Cresht) ปลาหมึก แข่งแบบแพ้ตกรอบ Best of 3 ทีมที่อยู่ทางด้านบนของสายการแข่งขันจะได้อยู่ฝั่งสีแดง ในเกมแรก และจะทำการสลับฝั่งในทุก ๆ เกมจนกว่าจะได้ผู้ชนะ การแข่งขันจะใช้รูปแบบ 2 ใน 3(Bo3) ฝั่งสีฟ้า(ทีมด้านล่าง)จะต้องเข้าไปค้นหาและตกลงเวลาในกระทู้ที่ฝั่งสีแดง(ทีมด้านบน)ตั้ง และฝั่งสีฟ้า(ทีมด้านล่าง)จะอยู่ฝั่งซ้ายเมื่อเข้าห้อง Tournament Mode ห้ามใช้คำพูดหรือแสดงกิริยาไม่สุภาพ หรือเสียดสีผู้อื่น มีโทษปรับแพ้ทันที ห้ามใช้โปรแกรมโกงใด ๆ ทั้งสิ้น มีโทษปรับแพ้ ห้ามให้ผู้เล่นที่ไม่มีรายชื่อหรือผู้เล่นจากสายการแข่งอื่นลงการแข่งขันแทน มีโทษปรับแพ้ทันที * ทีมงานขอสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนกฎกติกาได้โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า * คำตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด การหลุดออกจากเ
รูปภาพ
แผนที่ประเทศไทย แม่น้ำและภูเขา

การอ่านค่าพิกัดภูมิศาสตร์

รูปภาพ
             ระบบพิกัด ( Coordinate System)  เป็นระบบที่สร้างขึ้นสำหรับใช้อ้างอิงในการกำหนดตำแหน่ง หรือ บอกตำแหน่งพื้นโลกจากแผนที่มีลักษณ์เป็นตารางโครงข่ายที่เกิดจากตัดกันของเส้นตรงสองชุดที่ถูกกำหนดให้วางตัวในแนวเหนือ-ใต้ และแนวตะวันออก- ตะวันตก ตามแนวของจุดศูนย์กำเนิด ( Origin) ที่กำหนดขึ้น ค่าพิกัดที่ใช้อ้างอิงในการบอกตำแหน่งต่างๆ จะใช้ค่าของหน่วยที่นับออกจากจุดศูนย์กำเนิดเป็นระยะเชิงมุม ( Degree) หรือเป็นระยะทาง ( Distance) ไปทางเหนือหรือใต้และตะวันออกหรือตะวันตก ตามตำแหน่งของตำบลที่ต้องการหาค่าพิกัดที่กำหนดตำแหน่งต่างๆ จะถูกเรียกอ้างอิงเป็นตัวเลขในแนวตั้งและแนวนอนตามหน่วยวัดระยะใช้วัด                สำหรับระบบพิกัดที่ใช้อ้างอิงกำหนดตำแหน่งบนแผนที่ที่นิยมใช้กับแผนที่ในปัจจุบัน มีอยู่ด้วยกัน    2 ระบบ คือ                 1) ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Geographic Coordinate)                 2) ระบบพิกัดกริด   (Grid Coordinate)   ในที่นี้จะพูดถึง พิกัดกริดแบบ UTM (Universal Transverse Mercator) ซึ่งใช้กับแผนที่ภูมิประเทศชุด L 7017 ของกรมแผนที่ทหาร                การหาตำแหน่งของสถ

สถานภาพ

ความหมายของ สถานภาพ 1 สถานภาพโดยกำเนิด (Ascribed  status )     เป็นเรื่องของการที่บุคคลนั้นได้รับสถานภาพ มาโดยเงื่อนไขทางชีวภาพ นั่นคือ พอเกิดขึ้นมาในโลกก็ได้รับเลย ซึ่งพอแยกอธิบาย ดังต่อไปนี้             1.  สถานภาพทางวงศาคณาญาติ (Kinship status)  คือ บุคคลย่อมมีความผูกพันกับครอบครัว เช่น เป็นลูกของพ่อแม่ เป็นพี่ของน้อง เป็นต้น             2. สถานภาพทางเพศ (Sex status)  คือ บุคคลเกิดมาเป็นเพศใด เป็นชายหรือหญิงบุคคลนั้นก็จะย่อมได้รับสถานภาพทางเพศซึ่งย่อมมีบทบาท(สิทธิหน้าที่)ที่ต่างกัน           3. สถานภาพทางอายุ (Age status ) คือ บุคคลได้รับสถานภาพตามเกณฑ์อายุของตน เช่น กฎหมายไทยบัญญัติไว้ว่า ชายและหญิงจะบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ เพราะฉะนั้นสิทธิและหน้าที่ของบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว กับบุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะย่อมแตกต่างกัน            4. สถานภาพทางเชื้อชาติ (Race status)  คือ บุคคลที่เกิดมาจากชาติใดก็มีสถานภาพตามบรรทัดฐานของเชื้อชาตินั้น ๆ เช่น เชื้อชาติไทยและเชื้อชาติจีน เป็นต้น           5. สถานภาพทางท้องถิ่น (Regional status ) คือ บุคคลที่เกิดมาใน ถิ่นฐานใด เ

พระสังฆราชมิเชลลังเยล์

รูปภาพ
พ ระสังฆราชมิแชล  ลังเยร์ เกิดเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ที่นอร์มังดี ประเทศฝรั่งเศส เมื่อปี ค.ศ. 1938   ท่านเข้าบ้านเณรที่เอเวรอส์ ในปี ค.ศ. 1940   ท่านได้ย้ายไปอยู่ที่ พระสังฆราชมิเชลลังเยร์ สามเณราลัยเมืองการ์มส์  จนถึงปี ค.ศ. 1943  ท่านจึงเข้าบ้านเณรใหญ่  คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส  จนกระทั่งได้รับศีลบวช เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 1946 ท่านเป็นพระสงฆ์ชั้นเดียวกับพระสังฆราชอาแลง วังงาแวร์  เริ่มต้นชีวิตมิชชันนารี หลังจากบวชได้เพียง 4 เดือน คือในเดือนเมษายน ค.ศ. 1947 ท่านได้รับมอบหมายให้มาแพร่ธรรมในสังฆมณฑลเสฉวน ประเทศจีน จนกระทั่งประเทศจีนกลายเป็นคอมมิวนิสต์  ท่านถูกไล่ออกนอกประเทศในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1951 ท่านได้พักอยู่ที่ฮ่องกงช่วงเวลาอันสั้น แล้ว ท่านเดินทางมาถึงประเทศไทย  เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1951 การทำงานในประเทศไทย หน้าที่แรกในประเทศไทย ไปประจำที่วัดบ้านนา-หนองรี จังหวัดนครนายก  (ตำแหน่งผู้ช่วยเจ้าอาวาส) เพื่อศึกษาภาษาไทยและแต้จิ๋ว ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1951- พฤศจิกายน ค.ศ. 1952 เป็นเวลา 1 ปี หลังจากนั้นย้ายมาประจำที่ ว